วันจันทร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี   19 กุมภาพันธ์ 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20น.

วันนี้อาจารย์นัดมาสอบวิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และเป็นครั้งสุดท้ายที่ได้เรียนกับอาจารย์

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี   12 กุมภาพันธ์ 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20น.

วันนี้มีการนำเสนอสื่อคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยกลุ่มของดิฉันได้ทำสื่อชื่อ ร้านค้าพาเพลิน


นี่คือรูปภาพสื่อของกลุ่มดิฉัน


นี่คือรูปภาพของสื่อที่ดิฉันชอบที่สุด เพราะมีการทำสื่อได้น่าสนใจ สีสันสวยงาม และเด็กสามารถได้รับรู้ทางคณิตศาสตร์ได้หลายด้าน
บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี   5 กุมภาพันธ์ 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20น.

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ติดธุระ

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี   29 มกราคม 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20น.

วันนี้ดิฉันไม่ได้เข้าเรียน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี   22 มกราคม 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20น.

วันนี้อาจารย์ให้ทำสื่อภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ โดยอาจารย์จะให้รูปสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม นำมาประกอบในรูปภาพสื่อ โดยจะแบ่งกลุ่มละ5-6 คน



นี่คือภาพงานของกลุ่มดิฉัน
จะได้ทั้งจำนวนนับ รูปทรง และ สี


นี่คือภาพรวมงานกลุ่มของเพื่อนๆกลุ่มอื่น

พอเสร็จงานแรก ต่อมาอาจารย์ก็ให้ทำงานต่อโดยการแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม และให้แต่ละกลุ่มออกไปจับฉลาก มีหัวข้อ ดังนี้
1.การเปรียบเทียบ
2.การเปรียบเทียบความเหมือนและความต่าง
3.การสำรวจสิ่งที่ทำ
  กลุ่มของดิฉันจับฉลากได้ การสำรวจสิ่งที่ทำ


และนี่คือผลงานของกลุ่มดิฉัน


บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี   15 มกราคม 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20น.

วันนี้ดิฉันไม่ได้เข้าเรียนเนื่องจากไม่สบาย

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10



บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี   8 มกราคม 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20น.

ความรู้ที่ได้จากวิชานี้
วันนี้อาจารย์สอนเรื่อง สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่1 จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่2 การวัด
สาระที่3 เรขาคณิต
สาระที่4 พีชคณิต
สาระที่5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
     หลังจากสอนในเนื้อหาเสร็จอาจารย์ก็ให้นักศึกษาเลือกรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม คนละ1แบบ แล้วนำแบบมาวาดลงกระดาษสีแล้วตัดแปะลงกลางกระดาษ A4 และให้นักศึกษาวาดภาพต่อเติม เป็นภาพสัตว์

นี่คือผลงานของดิฉัน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี   1 มกราคม 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20น.

หยุดวันปีใหม่

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี   25 ธันวาคม 2556
เวลาเรียน 08.30-12.20น.

สอบกลางภาค

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี   18 ธันวาคม 2556
เวลาเรียน 08.30-12.20น.

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ให้อ่านหนังสือ

วันอาทิตย์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี   11 ธันวาคม 2556
เวลาเรียน 08.30-12.20น.

วันนี้ไม่มีการเรียนเนื่องจากเป็นกีฬาสีของคณะ ศึกษาศาสตร์

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี   4 ธันวาคม 2556
เวลาเรียน 08.30-12.20น.

ความรู้ที่ได้จากการเรียน

เพื่อนแต่ละกลุ่มทั้ง 5 กลุ่มที่นำเสนอสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ได้นำสื่อการสอนที่เกี่ยวกับสาระนั้นๆ มานำเสนอกันอีกรอบ

กลุ่ม พีชคณิต



กลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น


กลุ่ม การวัด


กลุ่ม รูปทรงเรขาคณิต


กลุ่ม จำนวนและการดำเนินการ


งานที่มอบหมายให้ทำในชั้นเรียน
อาจารย์ให้เขียนตัวเลขอะไรก็ได้ที่เราชอบในจำนวน 1-9 พอเราเขียนเสร็จอาจารย์ก็จะแจกกระดาษสีเพื่อที่จะใส่กีบดอกไม้ให้ตรงกับจำนวนตัวเลขที่เราเขียน



นี่คือผลงานของดิฉันที่ทำในชั้นเรียน



บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี   27 พฤศจิกายน2556
เวลาเรียน 08.30-12.20น.

ความรู้ที่ได้จากการเรียนวันนี้
วันนี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนองาน  เรื่อง สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ทั้งหมด 5 กลุ่ม ดังนี้

กลุ่มที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ


สาระการเรียนรู้

1. จำนวนนับใช้บอกจำนวนของสิ่งต่างๆ
2. จำนวนนับ หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า...เป็นจำนวนที่นับเพิ่มขึ้นทีล่ะหนึ่งตามลำดับ
3. ศูนย์ไม่ใช่จำนวนนับ
4. ตัวเลขเป็น เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแสดงจำนวน
5. สัญลักษณ์พื้นฐานที่ใช้เขียนแสดงจำนวน เรียกว่า เลขโดด ในระบบฐานสิบมี 10 ตัวดังนี้ตัวเลขฮินดูอารบิก ได้แก่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตัวเลขไทย ได้แก่ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙
อ่านว่า หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก เจ็ด แปด เก้า สิบ ตามลำดับ
6. จำนวนสองจำนวนเมื่อนำมาเปรียบเทียบกัน จะมีค่าเท่ากัน มากกว่ากัน หรือ น้อยกว่ากันอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว
7. การเรียงลำดับจำนวนอาจเรียงจากน้อยไปหามาก หรือจากมากไปหาน้อย
8. การบอกอันดับที่ของสิ่งต่างๆ จะต้องกำหนดสิ่งเริ่มต้นก่อน แล้วจึงจัดอันดับ
9. ที่หนึ่ง ที่สอง ที่สาม ที่สี่ ที่ห้า... เป็นการบอกอันดับที่
10. การรวมตัวเป็นการนับรวมจำนวนต่างๆ สองกลุ่ม ได้ผลรวมมากขึ้น
11. การแยกเป็นการนำจำนวนสิ่งต่างๆ ออกจากกลุ่มใหญ่ แล้วบอกจำนวนที่เหลือ


ลุ่มที่ 2 รูปทรงเรขาคณิต



รูปทรงต่างๆในเรขาคณิต

รูปสามเหลี่ยม มีด้าน 3 ด้าน มีมุม 3 มุม

รูปสี่เหลี่ยม มีด้าน 4 ด้าน มีมุม 4 มุม
รูปห้าเหลี่ยม มีด้าน 5 ด้าน มีมุม 5 มุม

รูปหกเหลี่ยม มีด้าน 6 ด้าน มีมุม 6 มุม
รูปแปดเหลี่ยม มีด้าน 8 ด้าน มีมุม 8 มุม
รูปวงกลม มีเส้นโค้งเป็นวงกลม และห่างจากจุดศูนย์กลางเป็นระยะทางเท่ากัน
รูปวงรี มีเส้นเส้นโค้งเป็นวงรี โดยห่างจากจุดศูนย์กลางไม่เท่ากัน

กลุ่มที่ 3 การวัด



สาระการเรียนรู้

1. การวัดความยาวของสิ่งต่างๆเป็นการหาความยาวตามแนวนอน การวัดความสูงเป็นการหาความยาว
2. การวัดความยาว ความสูง ของสิ่งต่างๆ อาจใช้เครื่องมือวัดที่มีหน่วยไม่ใช่หน่วยมาตราฐาน
3. ยาวกว่า สั้นกว่า สูงกว่า เตื้ยกว่า /ต่ำกว่า ยาวเท่ากัน/สูงเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบความยาว /ความสูงของสิ่งต่างๆ
4. การรียงลำดับความยาว/ ความสูง อาจเรียงจากน้อยไปหามากหรือมากไปน้อย
5. การชั่งน้ำหนักของสิ่งต่างๆอาจใช้เครื่องวัดชั่งน้ำหนักที่มีหน่วยไม่ใช่มาตราฐาน
6. หนักกว่า เบากว่า หนักเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบน้ำหนักของสิ่งต่างๆ
7. การเรียนงลำดับน้ำหนักของสิ่งต่างๆอาจเรียงจากน้อยไปหามากหรือจากมากไปหาน้อย
8. การตวงของสิ่งต่างๆ อาจใช้เครื่องมือตวงที่มีหน่วยไม่ใช่หน่วยมาตราฐาน
9. ปริมาตรมากกว่า ปริมาตรน้อยกว่า ปริมาตรเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบปริมาตรของสิ่งต่างๆ
10. การเรียงลำดับปริมาตรของสิ่งต่างๆ อาจเรียงจากน้อยไปหามาก หรือจากมากไปหาน้อย
11. เงินเหรียญและธนบัตร เป็นสิ่งที่ใช้ในการซื้อขาย
12. ตัวเลขที่ด้านหลังเงินเหรียญ บอกค่าของเงินเหรียญแต่ละเหรียญ
13. ตัวเลขที่อยู่บนธนบัตร บอกค่าของธนบัตรแต่ละฉบับ
14. บาท เป็นหน่วยของเงินไทย
15. เวลาแต่ละวันแบ่งเป็น 2 ช่วงใหญ่ๆ คือ กลางวันและกลางคืน
16. เช้า เที่ยง เย็น เมื่อวาน วันนี้ พรุ่งนี้ เป็นคำที่ใช้บอกช่วงเวลาต่างๆ
17. 1 สัปดาห์ มี 7 วันเรียงลำดับดังนี้ วันอาทิตย์ วันจันทร์ วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัสบดี วันศุกร์ และวันเสาร์

กลุ่มที่ 4 พีชคณิต

  

สาระการเรียนรู้

พีชคณิต คือ  เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์  การแก้ปัญหา โดยใช้สมการคณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ใช้สัญลักษณ์มาศึกษาการจําแนกประเภท คุณสมบัติ และ โครงสร้างของระบบจํานวนหรือระบบคณิตศาสตร์อื่น ๆ ที่เน้นในเรื่องโครงสร้างเป็นสําคัญ รวมถึงการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระบบเหล่านั้นด้วย 

กลุ่มที่ 5 ความน่าจะเป็น

    

สาระการเรียนรู้

ความน่าจะเป็น  หมายถึง ค่าของโอกาส หรือความเป็นไปได้ ซึ่่งสามารถวัดค่าได้เป็นตัวเลข  
 ( 0 ถึง 1 )   ถ้าค่าความน่าจะเป็นของเหตุการณ์เข้าใกล้ 1 หมายความว่า โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์นั้นมาก  ถ้าค่าความน่าจะเป็นของเหตุการณ์เข้าใกล้ 0 หมายความว่า โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์นั้นน้อยมาก
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์เป็นดัชนีวัดขนาดการเกิดของเหตุการณ์ ซึ่งสามารถจะนำไป
ประยุกต์ใช้ตัดสินใจดำเนินงานภายใต้สภาวะการณ์ไม่แน่นอน